Fri, 07 Oct 2022 20:34:17 +0000

Intercoatal Draninge (ICD) ข้อบ่งชี้ เพื่อระบายอากาศ สารน้ำ หรือเลือด ในโพรงเยื่อหุ้มปอด ข้อห้าม เช่นเดียวกับการเจาะโพรงเยื่อหุ้มปอด อุปกรณ์ • เช่นเดียวกับที่ใช้ในการเจาะโพรงเยื่อหุ้มปอด • ท่อระบาย โพรงเยื่อหุ้มปอด ข้อต่อ สายยาง ขวดระบาย • อุปกรณ์ในการผ่าตัดเล็ก วิธีการ 1. ตำแหน่งที่จะใส่ท่อระบายคือช่องซี่โครงที่ 5-6 ในแนวเส้นกลางรักแร้ ในกรณีที่ต้องการระบายอากาศ อย่างเดียวอาจใส่ ตรง ช่องซี่โครงที่ 2-3 ทางด้านหน้า ในแนวเส้นกลางไหปลาร้า 2. ให้ผู้ป่วยนอนศีรษะสูงประมาณ 45 องศา โดยวา งแขนข้างที่จะใส่ท่อระบายไว้ เหนือ ศีรษะเพื่อให้ช่อง ซี่โครงนั้นเปิดกว้าง 3. เตรียมผิวหนังและฉีดยาชาเช่นเดียวกับการเจาะ โพรงเยื่อหุ้ม ปอด แต่ให้บริเวณกว้างขึ้นและใช้ยาชา ประมาณ 10 มล. 4. ใช้มีดกรีดผิวหนัง จนลึก ถึงชั้นเนื้อเยื่อ ใต้ผิวหนัง ( subcutaneous tissue) เป็นแนวขนาน กับ ช่องซี่โครง ยาวประมาณ 2 ซม. ใช้ clamp แหวก เนื้อเยื่อ จนถึงกล้ามเนื้อระหว่างซี่โครง แล้วแหวกกล้ามเนื้อทาง ด้านขอบบนของซี่โครง ซี่ ล่างจนทะลุ ผ่านเข้าโพรงเยื่อหุ้มปอด ให้เป็นช่องขนาดประมาณ 1 ซม. ใส่ท่อระบายไปตามช่องที่แหวกไว้ โดยใช้ clamp เป็นตัวนำจน ได้ความลึกที่ต้องการ ระหว่างนี้ใ ช้ clamp อีกตัวหนึ่งหนีบ ปลาย อีกด้านของ ท่อระบายไว้ก่อน เมื่อได้ตำแหน่งดีแล้วลอง ปล่อย clamp ให้แน่ใจว่าสารน้ำหรืออากาศไหลออกได้สะดวกแล้ว ใช้ clamp หนีบท่อระบาย ไว้เช่นเดิม ต่อท่อระบาย เข้ากับ ปลายด้านหนึ่งของข้อต่อซึ่งปลายอีกด้านต่ออยู่กับสายยางที่ต่ออยู่กับ ขวดระบาย พันปิดรอยต่อ ด้วยพลาสเตอร์ให้แน่นแล้ว ล่อย clamp ที่ท่อระบาย 5.

  1. Nursing round ของน้อง 3ข - GotoKnow
  2. Signs
  3. การพัฒนาคุณภาพการดูแลผู้ป่วยใส่ท่อระบายทรวงอก โดยใช้นวัตกรรม “ ICD ติดล้อ” | Downloads เอกสารฝ่ายการพยาบาล
  4. Grade
  5. Without

Nursing round ของน้อง 3ข - GotoKnow

ผู้เข้าชมทั้งหมด 11, 016, 577 ผู้เข้าชมวันนี้ 7, 496 ผู้เข้าชมขณะนี้ 1, 827

icd 3 ขวด code

Signs

การพัฒนาคุณภาพการดูแลผู้ป่วยใส่ท่อระบายทรวงอก โดยใช้นวัตกรรม " ICD ติดล้อ" อำภา ปาลกะวงศ์ ณ อยุธยา งานการพยาบาลผู้ป่วยศัลยศาสตร์ โรงพยาบาลมหาราชนครเชียงใหม่ ความเป็นมาและความสำคัญของปัญหา: ผู้ป่วยที่ผ่าตัดทรวงอก (Thoracotomy) ภายหลังผ่าตัดต้องใส่ท่อระบายทรวงอก ( Inter Costal Drainage: ICD) และต้องบริหารร่างกายเพื่อให้ฟื้นตัวโดยเร็ว เพื่อป้องกันภาวะแทรกซ้อน จึงจำเป็นต้องมี "ICD ติดล้อ" เพื่อใส่ขวด ICD ในขณะที่ผู้ป่วยกำลังบริหารร่างกาย เพื่อป้องกันขวดตกแตก หรือสาย ICD เลื่อนหลุด จนเป็นเหตุให้เกิดลมในช่องเยื่อหุ้มปอดได้ วัตถุประสงค์: 1. เพื่อเพิ่มความสะดวกให้แก่ผู้ป่วยหลังผ่าตัดทรวงอกในการเคลื่อนไหวร่างกายออกกำลังกาย ทำให้ฟื้นฟูสภาพได้ในเวลาที่เร็วขึ้น ลดอัตราการครองเตียง 2. เพื่อเพิ่มความปลอดภัยจากภาวะแทรกซ้อนที่ป้องกันได้ เช่น สายระบายทรวงอกเลื่อนหลุดหรือขวด ICD ตกแตก วิธีการพัฒนานวัตกรรม: จากปัญหาการดูแลผู้ป่วยดังกล่าว จึงเกิดแนวคิดที่ว่าจะหาสิ่งใดมาเป็น เครื่องมือประคองการทรงตัวขณะเดินออกกำลังโดยผู้ป่วยสามารถพึ่งพาตนเองได้ ตลอดจนสะดวกต่อการเคลื่อนไหว จึงดำเนินกิจกรรมดังนี้ 1. กำหนดวัตถุประสงค์ของโครงการร่วมกันในทีม พัฒนารูปแบบ การดูแล คิดค้นนวัตกรรม 2.

icd 3 ขวด

การพัฒนาคุณภาพการดูแลผู้ป่วยใส่ท่อระบายทรวงอก โดยใช้นวัตกรรม “ ICD ติดล้อ” | Downloads เอกสารฝ่ายการพยาบาล

  • Icd 3 ขวด
  • โรงแรม รา ไว ย์
  • แผ่น ติด ชักโครก american standard
  • Icd 3 ขวด code
  • Mrt เพชรเกษม 48 km
  • ชุดต่อ ICD Chest Drain - ruangwitmedical
  • Icd 3 ขวด 1
  • Slave สลาฟในแดนมหัศจรรย์
  • Icd 3 ขวด test
  • Icd 3 ขวด signs
icd 3 ขวด codes

Grade

ในกรณีที่ใช้ท่อระบายชนิดที่มีแกนนำ ( trocar catheter) หลังจากที่แหวกจนถึงกล้ามเนื้อระหว่างซี่โครง แล้วค่อยๆ ใช้แกน นำหมุน และดัน จนทะลุ กล้ามเนื้อ ผ่านเข้าไปในโพรงเยื่อหุ้มปอด จึงถอยแกนนำเข้า มาอยู่ในท่อระบายเพื่อป้องกันอันตรายต่อ เนื้อปอด ดันท่อระบาย พร้อม แกนนำเข้าไปในทิศทางและความ ลึกที่ต้องการ ดึงแกนนำออกจากท่อระบาย แล้วต่อท่อระบายเข้า กับข้อต่อเช่นเดียวกับข้อ 4. 6. เย็บปิดบาดแผลและผูกท่อระบายให้ยึดแน่นกับผนังทรวงอก ปิดแผลและยึดติดสายให้แข็งแรง 7. ถ่ายภาพรังสีทรวงอกเพื่อตรวจสอบตำแหน่งท่อระบาย ขวดระบาย ระบบ การต่อขวดระบายมีได้หลายแบบ ทั้งนี้ขึ้นอยู่กับวัตถุประสงค์ว่าต้องการระบายอากาศและ / หรือสารน้ำจากโพรงเยื่อหุ้มปอด มี 4 ระบบคือ 1. ระบบขวดเดียว ( ขวด subaqueous) ใช้สำหรับระบายอากาศอย่างเดียวโดยไม่มีสารน้ำร่วมด้วย 2. ระบบสองขวด ( ขวด reservoir และขวด subaqeous) ใช้สำหรับระบายอากาศและสารน้ำแต่ไม่มีแรงดูดจากภายนอก 3. ระบบสามขวด ( ขวด reservoir, ขวด subaqeous และ ขวด pr essure regulator) เหมือนระบบสองขวดเพียงแต่ เพิ่มแรงดูดจากภายนอก โดยอาศัยเครื่องดูดสูญญากาศควบคุมความดันโดยระดับน้ำ 4.

นาง วิลาวัณย์ อุ่นเรือน เมื่อ พ. 11 ส.

Without

นันทา มาระเนตร์. การเจาะระบายทรวงอกแบบปิด. ใน: สง่า นิลวรางกูร, จินตนา ศิรินาวิน, บรรณาธิการ. การปฏิบัติการ และหัตถการทางอายุรศาสตร์, โครงการตำราศิริราช, กรุงเทพมหานคร, เรือนแก้วการพิมพ์, 2532; 151-8. 2. Pierson DJ. management of pneumothorax, bronchopleural fistula, and pleural effusion. In: Pierson DJ, Kacmarek RM, eds. Foundations of respiratory care, Churchill Livingstone, NewYork, 1992;159-68. 3. Light RW. Chest tube. In: Light RW, ed. Pleural disease 3 rd edition, Williams & Wilkins, Baltimore, 1995;327-37.

ระบบขวดระบายต่างๆ จะต้องให้อยู่ต่ำกว่าตัวผู้ป่วยเสมอ โดยเฉพาะเวลาส่งผู้ป่วยไปทำการตรวจเพิ่มเติม หรือเคลื่อนย้าย ผู้ป่วยและเวลาผู้ป่วยเข้าห้องน้ำ ห้าม clamp ท่อระบายเด็ดขาดยกเว้นเวลาเปลี่ยนขวดระบาย 3. ดูแลระบบการระบายให้เป็นระบบปิดอยู่เสมอเพื่อป้องกันการปนเปื้อนเชื้อจากภายนอก 4. หมั่นตรวจสอบ ระดับปลายท่อที่อยู่ด้านในของขวด subaqeous ให้อยู่ใต้น้ำประมาณ 2 ซม. เสมอ ถ้าปลายท่อพ้นน้ำ จะทำ ให ้อากาศจากภายนอกไหลย้อนกลับเข้าตัวผู้ป่วย 5. การที่เห็นฟองอากาศในขวด subaqeous ตลอดเวลา อาจเกิดจากสา เหตุดังต่อไปนี้ 5. 1 Bronchopleural fistula 5. 2 รูสุดท้ายของท่อระบายอยู่นอกโพรงเยื่อหุ้มปอด 5. 3 แผลจากการใส่ท่อระบายที่ช่องซี่โครงใหญ่เกินไป ทำให้อากาศจากภายนอก รั่วเข้าท่อระบาย 5. 4 รูรั่วในระบบขวดระบายหรือพันพลาสเตอร์ตามรอยต่อไม่สนิท การ ตรวจสอบสาเหตุข้อ 5. 1-5. 3 ทำโดย clamp ท่อระบายตรงตำแหน่งที่ท่อเริ่มออกจากตัวผู้ป่วย โดยฟองอากาศที่เห็นจะหายไป แต่ถ้า clamp แล้วฟองอากาศไม่หายไป แสดงว่าเกิดจากสาเหตุข้อ 5. 4 ให้ clamp สายเป็นช่วงๆ เพื่อหาตำแหน่งที่รั่ว 6. สายอุดตัน สังเกตได้จากน้ำในสายต่อหรือน้ำที่ปลายท่อด้านในขวด subaqeous ไม่ขยับตามจังหวะการหายใจ อาจป้องกันหรือแก้ไขได้โดยการรีดสายต่อเป็นระยะๆ โดยเฉพาะเมื่อเห็นมีเนื้อเยื่อหรือ fibrin ปนมาในสารน้ำด้วย 7.

ขอมล-วด-บางนำผง-ใน