Fri, 07 Oct 2022 19:40:22 +0000
สำหรับ Galaxy S และ Note ที่ได้รับการอัพเดค Android 10 แล้ว สิ่งที่เพิ่มมาสำหรับโหมดกล้อง(โปร) นั้นคือเราสามารถเพิ่มความเร็วชัตเตอร์ได้ถึง 30 วินาที (จากเดิมแค่ 10 วินาทีเท่านั้น) วิธีการเข้าไปตั้งค่าก็ไม่ยากเลย แค่ทำตามนี้ 1. เข้าแอปฯกล้อง เลื่อนเมนูไปที่ "อื่นๆ" แล้วเลือกที่ไอคอน "โปร" (ตามรูป) 2. เลือกไอคอนแรกคือ ตั้งค่าให้ต่ำที่สุดคือ 50 3. เลือกไอคอนถัดมา คือ ความเร็วชัตเตอร์ เลื่อนไปขวาสุดคือ 30 วิ (กรณีที่ท้องฟ้าไม่ค่อยมืด หรือมีแสงจากภายนอก เราอาจลดความเร็วชัตเตอร์ให้เหลือน้อยลงได้ เช่น 15, 10 วินาที) แค่นี้ก็เรียบร้อยพร้อมถ่ายแล้ว แต่!!!!!!!!! สิ่งสำคัญที่สุดของการถ่ายดาวบนฟ้าคือ 1. ฟ้าต้องโปร่ง ไม่มีเมฆ หาสถานที่ดีๆ สูงๆ(ถ้าไปเที่ยวทะเล ขึ้นเขา ขึ้นดอย จะถ่ายออกมาดีมาก) 2. ฟ้าต้องมืด แสงรบกวนจากภายนอกต้องน้อยมาก(แสงไฟ) 3. ขาตั้งกล้อง ต้องมี เพราะว่าเราเปิดความเร็วชัตเตอร์นานๆ ถ้ากล้องไม่นิ่ง ภาพจะเละเลย เพราะฉะนั้นต้องใช้ขาตั้งกล้อง(มือถือ) ตั้งให้นิ่งๆ 4. อันนี้แถม อาจจะตั้งเวลาถ่ายรูปซัก 3 - 5 วินาที เพราะถ้ากดถ่ายเลย มือเราอาจกดแรงไปทำให้กล้อง(มือถือ)สั่นได้ ภาพอาจเบลอๆ ควรตั้งเวลาเพื่อให้ตัวกล้องมีช่วงระยะหยุดสั่นไหวนิดนึง ใครลองทำตามแล้วเอารูปมาอวดกันได้นะคะ ^-^

การถ่ายภาพทางช้างเผือก การตั้งค่ากล้องถ่ายภาพทางช้างเผือก และวิธีเตรียมตัว

วิธีถ่ายรูปดาว

3 วิธีถ่ายภาพหมู่ ภาพเพื่อนเป็นกลุ่ม ให้ชัด ใช้รูรับแสงกว้างสุด ๆ ก็ชัดทั้งภาพได้ไม่ยาก - YouTube

ถ่ายดาว ด้วย มือถือ ทุกรุ่นเหมือนกัน แค่มีโหมดโปร - LensBy369

4 เทคนิคและวิธีการสำหรับการถ่ายภาพ - ฝนดาวตก

  1. เทคนิคการถ่ายภาพฝนดาวตกเจมินิดส์ ถ่ายยังไงให้สวย
  2. Hbd สาว ๆ
  3. Download ละคร ไทย
  4. 10 เทคนิคการถ่ายฝนดาวตก โดย Thomas O’Brien - เว็บสำหรับคนชอบถ่ายรูป
  5. 3 วิธีถ่ายภาพหมู่ ภาพเพื่อนเป็นกลุ่ม ให้ชัด ใช้รูรับแสงกว้างสุด ๆ ก็ชัดทั้งภาพได้ไม่ยาก - YouTube
  6. ข้าว ผัด น้ำพริก หนุ่ม
  7. ถ่ายดาว เทคนิค การถ่ายภาพดาว เบื้องต้น Star Photography - LensBy369
  8. หอย สาว ไทย เต็ม เรื่อง

ตั้งกล้องห่างจากฉากหน้า โดยให้อยู่ห่างตามค่าระยะไฮเปอร์โฟกัส ซึ่งอาจคำนวณได้จากเว็บไซต์ หรือควรห่างไม่น้อยกว่า 3-4 เมตร โดยประมาณ 3. ตั้งกล้องบนขาตามดาว เพราะดาวตกจะพุ่งออกจากบริเวณจุดศูนย์กลางการกระจาย (Radiant) ด้วยวิธีนี้จะทำให้เราได้ภาพฝนดาวตกออกมาจากจุดเรเดียนท์จริง ๆ และที่สำคัญคือ เราจะได้ภาพฝนดาวตกมากกว่าการถ่ายภาพบนขาตั้งแบบนิ่งอยู่กับที่ เพราะตำแหน่งจุดศูนย์กลางการกระจายจะเคลื่อนที่เปลี่ยนตำแหน่งไปเรื่อย ๆ ซึ่งการตั้งกล้องบนขาแบบตามดาวนี้ ถือเป็นเทคนิคสำคัญในการถ่ายภาพฝนดาวตกเพื่อให้ได้ภาพที่มีจำนวนดาวตกติดมากที่สุด และแสดงให้เห็นการกระจายตัวจากศูนย์กลางได้อย่างชัดเจน 4. หันหน้ากล้องไปที่จุดศูนย์กลางการกระจาย (Radiant) โดยให้จุดดังกล่าวอยู่กลางภาพ 5. ถ่ายแบบต่อเนื่อง อย่างน้อย 3-4 ชั่วโมง โดยใช้ค่าการเปิดหน้ากล้องประมาณ 30 วินาที ต่อ 1 ภาพ หรือมากกว่า 6. ช่วงเที่ยงคืน คือช่วงเวลาที่ดีที่สุด เพราะเป็นเวลาที่ซีกโลกที่เราอยู่จะรับดาวตกที่พุ่งเข้ามาแบบตรง ๆ 7. อยากได้ภาพดาวตกยาว ๆ ต้องหลังเที่ยงคืนไปแล้ว หรือในเวลาใกล้รุ่ง จะเป็นช่วงที่ดาวตกวิ่งตามทิศทางการหมุนของโลก จึงทำให้เห็นดาวตกวิ่งช้า 8.

ไหวเจา-ท-ผ-บาน-ผเรอน-ใช-ธป-ก-ดอก