Fri, 14 Oct 2022 13:10:05 +0000

ทำหน้าที่ตามหลังบุพบท เช่น เขาเป็นคนเห็นแก่ตัว พ่อนอนบนเตียง ปู่ป่วยอยู่ที่โรงพยาบาล 7. ทำหน้าที่เป็นคำเรียกขาน เช่น คุณครูคะหนูยังไม่เข้าใจเลขข้อนี้ค่ะ คุณหมอลูกดิฉันจะหายป่วยไหม นายช่างครับผมขอลากิจ 3 วัน

  1. คำนำหน้าชื่อ - วิกิพีเดีย
  2. หมวดหมู่:คำหลักภาษาไทย - วิกิพจนานุกรม
  3. คำนำหน้านามในภาษาไทย ตอนที่ ๑ | เดลินิวส์
  4. คำในภาษาไทย คำในภาษาไทย มี ๗ ชนิด ดังนี้ | คำในภาษาไทยทั้ง 7 ชนิด
  5. Voathai.com
  6. คํานามไทย
  7. คำลักษณะนาม ภาษาอังกฤษ - พจนานุกรมไทย-อังกฤษ

คำนำหน้าชื่อ - วิกิพีเดีย

  1. ไธอะโนซาน ~ Thai-Seed.com
  2. คำในภาษาไทย คำในภาษาไทย มี ๗ ชนิด ดังนี้ | คำในภาษาไทยทั้ง 7 ชนิด
  3. คำ นาม ไทย voathai.com

คำนาม 2. คำสรรพนาม 3. คำกริยา 4. คำวิเศษณ์ 5. คำบุรพบท 6. คำสันธาน 7. คำอุทาน คำนาม ความหมายของคำนาม คำนาม หมายถึง คำที่ใช้เรียกชื่อ คน สัตว์ พืช สิ่งของ สถานที่ สภาพ อาการ ลักษณะ ทั้งที่เป็นสิ่งมีชีวิต หรือสิ่งไม่มีชีวิต ทั้งที่เป็นรูปธรรม และนามธรรม เช่นคำว่า คน ปลา ตะกร้า ไก่ ประเทศไทย จังหวัดพิจิตร การออกกำลังกาย การศึกษา ความดี ความงาม กอไผ่ กรรมกร ฝูง ตัว เป็นต้น ชนิดของคำนาม คำนามแบ่งออกเป็น ๕ ชนิด ดังนี้ ๑. สามานยนาม หรือเรียกว่า คำนามทั่วไป คือ คำนามที่เป็นชื่อทั่วๆ ไป เป็นคำเรียกสิ่งต่างๆ โดยทั่วไปไม่ชี้เฉพาะเจาะจง เช่น ปลา ผีเสื้อ คน สุนัข วัด ต้นไม้ บ้าน หนังสือ ปากกา เป็นต้น ๒. วิสามานยนาม หรือเรียกว่า คำนามเฉพาะ คือ คำนามที่ใช้เรียกชื่อเฉาะของคน สัตว์ หรือสถานที่ เป็นคำเรียนเจาะจงลงไปว่า เป็นใครหรือเป็นอะไร เช่น พระพุทธชินราช เด็กชายวิทวัส จังหวัดพิจิตร วัดท่าหลวง ส้มโอท่าข่อย พระอภัยมณี วันจันทร์ เดือนมกราคม เป็นต้น ๓. สมุหนาม คือ คำนามที่ทำหน้าที่แสดงหมวดหมู่ของคำนามทั่วไป และคำนามเฉพาะ เช่น ฝูงผึ้ง กอไผ่ คณะนักทัศนาจร บริษัท พวกกรรมกร เป็นต้น ๔. ลักษณะนาม คือ เป็นคำนามที่บอกลักษณะของคำนาม เพื่อแสดงรูปลักษณะ ขนาด ปริมาณ ของคำนามนั้นนั้นให้ชัดเจน เช่น บ้าน ๑ หลัง โต๊ะ ๕ ตัว คำว่า หลัง และ ตัว เป็นลักษณะนาม ๕.

คำนาม คือ คำที่ใช้เรียกชื่อคน สัตว์ สิ่งของ สถานที่ อาคาร สภาพ และลักษณะทั้งสิ่งมีชีวิต และไม่มีชีวิต ทั้งที่เป็นรูปธรรมและนามธรรม คำนามแบ่งออกเป็น 5 ชนิด 1. สามานยนาม 2. วิสามานยนาม 3. สมุหนาม 4. ลักษณนาม 5. อาการนาม 1. สามานยนาม คือ คำนามสามัญที่ใช้เป็นชื่อทั่วไป เช่น หนู เป็ด โต๊ะ บ้าน หรือเป็นคำเรียกสิ่งต่างๆ โดยทั่วไป ไม่ชี้เฉพาะเจาะจง เช่น คน, รถ, หนังสือ, กล้วย เป็นต้น สามานยนามบางคำมีคำย่อยเพื่อบอกชนิดย่อยๆของสิ่งต่างๆ เรียกว่า สามานยนามย่อย เช่น คนไทย, รถจักรายาน, หนังสือแบบเรียน, กล้วยหอม เป็นต้น ตัวอย่างของสามานยนาม เช่น ดอกไม้อยู่ในแจกัน แมวชอบกินปลา 2. วิสามานยนาม คือ คำนามที่เป็นชื่อเฉพาะของคน สัตว์ สถานที่ หรือเป็นคำเรียกบุคคล สถานที่เพื่อเจาะจงว่าเป็นคนไหน สิ่งใด เช่น นายอัตถ์ ตูบ หรือ ชื่อวัน ชื่อเดือน เช่น วันจันทร์ เดือนมกราคม หรือชื่อจังหวัดธรรมศาสตร์, วัดมหาธาตุ, รามเกียรติ์ เป็นต้น ตัวอย่างของวิสามานยนาม เช่น นิดและน้อยเป็นพี่น้องกัน อิเหนาได้รับการยกย่องว่าเป็นยอดของกลอนบทละคร 3. ลักษณนาม คือ คำนามที่ทำหน้าที่ประกอบนามอื่น เพื่อบอกรูปร่าง ลักษณะ ขนาดหรือปริมาณของนามนั้นให้ชัดเจนขึ้น เช่น รูป, องค์, กระบอก เป็นต้น ตัวอย่างของลักษณนาม เช่น คน 6 คน นั่งรถ 2 คน ผ้า 20 ผืน เรียกว่า 1 กุลี 4.

คำนาม คือ คำที่ใช้เรียกชื่อคน สัตว์ สิ่งของ และสถานที่ต่างๆ เช่น ลูก หมู แม่ สนาม เป็นต้น คำนามแบ่งเป็น 5 ชนิด คือ 1. สามานยนาม คือ คำที่ใช้เรียกชื่อคน สัตว์ สิ่งของ เครื่องใช้ สถานที่ เช่น ยางลบ ต้นไม้ แม่น้ำ ภูเขา โรงเรียน เป็นต้น 2. วิสามานยนาม คือ คำที่ใช้เรียกชื่อคน สัตว์ สิ่งของ สถานที่ โดยเฉพาะเจาะจง เช่น อาจารย์สมศรี แม่น้ำเจ้าพระยา จังหวัดเชียงใหม่ ถนนพระรามสี่ เป็นต้น 3. อาการนาม คือ คำนามที่ใช้ การ นำหน้าคำกริยา ความ นำหน้าคำวิเศษณ์ เช่น เล่น เป็น การเล่น นอน เป็น การนอน สวย เป็น ความสวย ดี เป็น ความดี 4. ลักษณนาม คือ คำนามที่แสดงลักษณะคำนามที่อยู่ข้างหน้า โดยมากมักจะอยู่หลังตัวเลข หรือมีคำที่บอกจำนวนประกอบด้วย เช่น กล้วย 3 หวี ปากกา 1 ด้าม น้ำ 5 ตุ่ม พระภิกษุ 9 รูป กา ฝูง หนึ่ง เด็ก กลุ่ม นั้น 5. สนุหนาม คื คำนามที่ใช้แสดงชื่อหมวดหมู่ มักประกอบหน้าคำนามอื่นๆ เช่น กลุ่ม กอง คณะ เป็นต้น ……………………………………………………………..

สง-starbuck-online