Fri, 07 Oct 2022 20:00:18 +0000

เครื่องทำความเย็นท่อหม้อไอน้ำท่อเหล็กเอสเอส 103 Tubi Refrigerazione อายุการใช้งานยาวนาน มาตรฐาน:EN 10217-7 TC1 D3 / T3 / ASTM A269 วัสดุ::1. 4404 / 316 / 316L ขนาด:ความหนาของผนัง 10 นิ้ว: 1.

ท่อน้ำไทย เทปพันเกลียว 12มม.x10ม. รุ่น จอรีเทค |GlobalHouse

ไอน้ำมักถูกนำมาให้ความร้อนในอุตสาหกรรมและการผลิตต่างๆ เนื่องจากไอน้ำมีข้อดีดังนี้ 1. ปลอดภัย ไม่เป็นอันตราย 2. ถ่ายเทความร้อนที่อุณหภูมิคงที่ 3. เปลี่ยนแปลงอุณหภูมิได้ตามความดัน 4. สามารถสะสมพลังงานได้มาก การใช้งานไอน้ำมี 2 รูปแบบ 1. การใช้ไอน้ำแบบทางตรง (Direct) คือ การนำไอน้ำสัมผัสกับวัตถุดิบโดยตรง ไม่มีน้ำ Condensate กลับมา 2. การใช้ไอน้ำแบบทางอ้อม (Indirect) คือ การนำไอน้ำให้ความร้อนแก่วัตถุดิบ โดยผ่านเครื่องแลกเปลี่ยนความร้อน ซึ่งจะมีน้ำ Condensate กลับมาใช้อีก การจะใช้ไอน้ำในรูปแบบใด ขึ้นกับชนิดของกระบวนการผลิต ระบบไอน้ำแบ่งออกเป็น 2 ส่วน 1. Supply Side คือส่วนที่ผลิตไอน้ำออกมา ประกอบด้วย หม้อไอน้ำ (Boiler), Feed Water Pump, Header และ Steam Separator เป็นต้น 2. Demand Side คือส่วนที่ต้องการนำไอน้ำไปใช้ประโยชน์ ประกอบด้วย ท่อส่งไอน้ำ, ท่อ Condensate, Steam Trap และ อุปกรณ์ใช้ความร้อน เป็นต้น การอนุรักษ์พลังงานในระบบไอน้ำสามารถดำเนินการได้ทั้งในส่วนของ Supply Side และ Demand Side แต่ไม่ว่าไอน้ำจะอยู่ในส่วนใด คุณสมบัติของไอน้ำจะอยู่บนกราฟ PH-diagram เสมอ ดังนั้นหากสามารถใช้กราฟ PH-diagram ได้อย่างคล่องแคล่ว จะสามารถใช้ลูกเล่นในการอนุรักษ์พลังงานในระบบไอน้ำได้ไม่ยาก รูปที่ 1 PH-diagram ของ น้ำ/น้ำผสมไอน้ำ/ไอน้ำ ลองฝึกทำความเข้าใจเส้นคุณสมบัติของ น้ำ/น้ำผสมไอน้ำ/ไอน้ำ บนกราฟ PH-diagram 1.

หลังจากทราบขนาดท่อแล้วคือการ Lay-out แนวทางในการเดินท่อโดยมีหลักการ ดังนี้ 1. ให้เดินท่อให้สั้นที่สุด 2. ท่อ Steam ควรมีการเดินเอียงลาด 1:250 ไปตามทิศทางการไหลของไอน้ำ 3. ต้องมีจุดดักน้ำเพื่อระบายออกทุก ๆ ความยาวท่อไม่เกิน 30-50 เมตร 4. ต้องมีจุดดักน้ำเพื่อระบายออกในจุดที่มีน้ำขังหรือกีดขวางการวิ่งของไอน้ำ 5. การต่อไอน้ำจากท่อ Main ออกไป ต้องต่อจากด้านบนเสมอ 6. จุดดักน้ำควรมีขนาดเท่ากับท่อสำรับท่อ 1/2"-4" หากท่อโตเกินกว่านี้ก็สามารถลดลง 1-2 Size ดังนั้นควรแก้ไขท่อ Main drainage ของ Steam trap No 10 ให้เหมาะ ดังรูปภาพดังล่างเลยครับ หากท่านใดมีข้อเสนอแนะที่ดี ๆ นอกจากนี้ พูดคุยกันได้เลยนะครับ แล้วพบกันใหม่ครับ สามารถเข้ามาพูดคุยแลกเปลี่ยนประสบการณ์ ได้อีกหนึ่งช่องทางตามลิ้งเลยครับ

เส้นแบ่งสถานะ 2 เส้นแบ่งสถานะบน PH-diagram 2. เส้นความดันสัมบูรณ์ 3 เส้นความดันสัมบูรณ์บน PH-diagram 3. เส้นพลังงานต่อมวล (Enthalpy) 4 เส้น Enthalpy บน PH-diagram 4. เส้นอุณหภูมิ 5 เส้นอุณหภูมิบน PH-diagram 5. เส้นความหนาแน่น 6 เส้นความหนาแน่นบน PH-diagram 6. เส้นสัดส่วน ไอน้ำ/น้ำ 7 เส้นสัดส่วน ไอน้ำ/น้ำ บน PH-diagram 7. เส้น Entropy 8 เส้น Entropy ตัวอย่างการใช้ PH-diagram เพื่อประเมินศักยภาพการอนุรักษ์พลังงานในระบบไอน้ำ 1. การอนุรักษ์พลังงานโดยการลดความดันผลิตไอน้ำ หม้อไอน้ำผลิตไอน้ำอิ่มตัวจากน้ำอุณหภูมิ 40 ºC ที่ความดัน 5 Bar(g) หากลดความดันที่ใช้ในการผลิตไอน้ำเหลือ 1 Bar(g) จะอนุรักษ์พลังงานได้กี่ kJ/kg พลังงานที่ใช้ในการผลิตไอน้ำอิ่มตัว @ 5 Bar(g); เส้นสีแดง = 2750 – 170 = 2580 kJ/kg @ 1 Bar(g); เส้นสีน้ำเงิน = 2700 – 170 = 2530 kJ/kg ผลการอนุรักษ์พลังงานที่เกิดขึ้น = 2580 – 2530 = 50 kJ/kg 9 การใช้ PH-diagram คำนวณมาตรการลดความดันผลิตไอน้ำ 2. ผลกระทบที่เกิดขึ้นต่อระบบไอน้ำจากการมีความร้อนสูญเสีย ภายในท่อไอน้ำ มีไอน้ำอิ่มตัว 5 Bar(g) แต่เนื่องจากท่อหุ้มฉนวนบาง จึงมีความร้อนสูญเสียไป 500 kJ/kg จงคำนวณหาค่า Enthalpy ที่เหลืออยู่ และ ภายในท่อจะเกิดน้ำ Condensate ขึ้นกี่% พลังงานไอน้ำอิ่มตัว 5 Bar(g); จุดสีแดง = 2700 kJ/kg พลังงานไอน้ำที่เหลือจากการสูญเสียความร้อน 5 Bar(g); จุดสีน้ำเงิน = 2200 kJ/kg จากจุดสีน้ำเงินสามารถอ่านค่า Enthalpy = 2200 kJ/kg สัดส่วน ไอน้ำ/น้ำ = 0.

3.16.24_03_กับดักไอน้ำ Steam Traps - คลังบทความ

  • หม้อไอน้ำแบบท่อ Water tube Boiler | ตรวจพลังงาน
  • ขนาดของท่อไอน้ำ (Pipe Sizing) | หม้อไอน้ำ boiler
  • โครงสร้างภาษา JAVA – พื้นฐานภาษา JAVA

กรมพัฒนาพลังงานทดแทนและอนุรักษ์พลังงาน, การอนุรักษ์พลังงานในระบบไอน้ำ

004 = 3330 และ 0. 003 = 2767 Factor = 0. 003 + (2850-2767)(0. 004-0. 003)/(3330-2767) = 0. 0031 ดังนั้นแรงดันที่จุด Z เท่ากับ (69. 6 – P2)/150 = 0. 0031 ดังนั้น P2 = 69. 1 เมื่อพิจารณาที่ ZD ค่า pressure factor เท่ากับ (69. 1 – 56. 38)/300 = 0. 042 ที่ระยะ ZD อัตราการไหล 1200 kg/h จากตาราง Pipeline Capacity ได้ 3" * พิจารณาที่ ZY ขนาดท่อ 4" อัตราการไหล 1650 kg/h จากตาราง factor ที่ 0. 008 = 1648 ดังนั้นแรงดันที่จุด Y เท่ากับ (69. 1– P2)/150 = 0. 008 ดังนั้น P2 = 67. 9 เมื่อพิจารณาที่ YC ค่า pressure factor เท่ากับ (67. 9 – 56. 38)/450 = 0. 026 ที่ระยะ YC อัตราการไหล 300 kg/h จากตาราง Pipeline Capacity ได้ 2" * พิจารณาที่ YX ขนาดท่อ 4" อัตราการไหล 1350 kg/h จากตาราง factor ที่ 0. 005 = 1275 และ 0. 006 = 1412 Factor = 0. 005 + (1350-1275)(0. 006-0. 005)/(1412-1275) = 0. 0055 ดังนั้นแรงดันที่จุด X เท่ากับ (67. 9 – P2)/300 = 0. 0055 ดังนั้น P2 = 66. 25 เมื่อพิจารณาที่ XB ค่า pressure factor เท่ากับ (66. 25– 56. 033 ที่ระยะ XB อัตราการไหล 900 kg/h จากตาราง Pipeline Capacity ได้ 2. 5" การออกแบบระบบท่อไอน้ำยิ่งยวด Super heat สำหรับไอน้ำยิ่งยวดเนื่องจากเป็นไอแห้งดังนั้นความเร็วของไอน้ำในท่อจะสามารถมีค่าได้มากถึง 90 m/s เนื่องจากไม่ก่อให้เกิดปัญหา waterhammer แต่อย่างไรก็ตามขนาดท่ออาจทำให้แรงดันที่จุดใช้งานลดลงดังนั้นจึ่งต้องทำการวิเคราะห์แรงดันด้วย

การอนุรักษ์พลังงานในระบบไอน้ำ – ZERO ENERGY

สตีมแทรปมีความจำเป็นอย่างไรต่อระบบไอน้ำ 1.

จำหน่ายบอยเลอร์เชื้อเพลิงเหลวและเชื้อเพลิงแข็ง งานระบบ Bolier งานติดตั้ง Boiler รับเดินท่อSteam งานเชื่อมถังแรงดันสูงและงานเชื่อมสเปคสูง รายละเอียด รับเดินระบบท่อสตีม รับหุ้มฉนวนกันความร้อน ออกแบบและติดตั้งระบบ Station Gas เพรสเซอร์เกจ ( Pressure Gauge) เพรสเซอร์สวิทซ์ (Pressure Switch) รับเปลี่ยนท่อไฟ Boiler รับงานล้าง Boiler แยงเขม่า Boiler ติดตั้งและจำหน่ายบอยเลอร์แนวตั้ง(ระบบแก๊ส) ผลงานล่าสุด

1% อัตราการใช้ไอน้ำที่ต้องการเท่ากับ 270 kg/h ปริมาณไอน้ำที่หม้อต้มต้องผลิต = 270 + 7. 1% = 289 kg/h จากตาราง Pressure Drop Factors P 1 at 7. 0 bar = 56. 38 P 2 at 6. 6 bar = 51. 05 ค่า Pressure Factor เท่ากับ F(Pressure Factor) = (56. 38 – 51. 05)/214 = 0. 025 จากตาราง Pipeline Capacity ที่ F เท่ากับ 0. 025 ที่ท่อขนาด 40 mm อัตราการไหลเท่ากับ 209. 8 kg/h ที่ท่อขนาด 50 mm อัตราการไหลเท่ากับ 459. 7 kg/h ดังนั้นในการเลือกท่อใช้งานจะต้องเลือกท่อขนาด 50 mm ตรวจสอบความเร็วในท่อขนาด 50 mm จากตารางอัตราการไหลในท่อ ที่แรงดัน 7 bar อัตราการไหล 289 kg/h พบว่าน้อยกว่า 15 m/s แสดงว่าสามารถใช้ได้ ทดลองเลือกท่อขนาด 40 mm พบว่าอัตราการไหลอยู่ที่ประมาณ 15 m/s แต่เนื่องจากท่อที่เล็กลงทำให้แรงดันตกมากขึ้น โดยอัตราการไหลที่ต้องการเท่ากับ 289 kg/h จะต้องเลือกใช้ค่า F เท่ากับ 0. 05 ซึ่งให้อัตราการไหลเท่ากับ 313. 8 kg/h จากสมการ F(Pressure Factor) = (P1-P2)/L P2 = 56. 38 - (0. 05 x 214) = 45. 68 เมื่อเทียบในตาราง Pressure Drop Factor ได้ P2 ต่ำกว่า 6. 1 bar ตัวอย่าง 2 จากรูปจงหาขนาดท่อ โดยกำหนดให้ที่ S มีแรงดันเท่ากับ 8 bar และที่จุด A, B, C, D, E มีแรงดันไม่น้อยกว่า 7 bar ขั้นตอนที่ 1 หาขนาดท่อหลักจากแรงดันตกที่มีค่าน้อยที่สุดเนื่องจากที่จุดใช้งานทุกจุดมีแรงดันเท่ากันดังนั้นเส้นทางหลักคือเส้นทางที่มีความยาวมากที่สุดได้แก่ SA * ที่ Ps = 8 bar จากตาราง Pressure Drop Factor จะได้เท่ากับ 70.

K) จากตาราง x = ความหนาของฉนวน (m) A = Mean surface area (m 2) สามมารถคำนวณจากค่ารัศมีเฉลี่ย (r m) โดย รัศมีในเป็น (r 1) และรัศมีนอกเป็น (r 2).

นำตาล-บ-รอน