Fri, 07 Oct 2022 21:10:09 +0000

Successfully reported this slideshow. สารแต่ละชนิดอยู่ในสถานะของแข็ง ของเหลว และแก๊ส ซึ่งมีคุณสมบัติบางประการเหมือนกัน บางประการแตกต่างกัน ครู at โรงเรียนบางสะพานน้อยวิทยาคม สารแต่ละชนิดอยู่ในสถานะของแข็ง ของเหลว และแก๊ส ซึ่งมีคุณสมบัติบางประการเหมือนกัน บางประการแตกต่างกัน

สถานะของสาร ม.1

การเปลี่ยนสถานะของสารจากของแข็งเป็นของเหลว เช่น การหล่อเทียน การหล่อพระพุทธรูป การหล่อเครื่องมือเครื่องใช้ต่างๆ โดยนำสารที่จะหล่อมาหลอมเหลวแล้วใส่ในแม่พิมพ์ เป็นต้น 2. การเปลี่ยนสถานะของสารจากของแข็งเป็นแก๊ส เช่น การระเหิดของลูกเหม็น เป็นต้น 3. การเปลี่ยนสถานะของสารจากแก๊สไปเป็นของเหลว เช่น การทำฝนเทียมโดยใช้สารเคมีเพื่อทำให้เกิดการควบแน่นของไอน้ำในอากาศกลายเป็นฝน ในกระบวนการกลั่นน้ำมันปิโตรเลียม ต้องอาศัยหลักการควบแน่นของสาร เป็นต้น 4. การเปลี่ยนสถานะของสารจากของเหลวไปเป็นแก๊ส เช่น การทำน้ำให้เดือดเพื่อฆ่าเชื้อโรคในน้ำ การผลิตกระแสไฟฟ้าจากแรงดันไอของน้ำเดือด เป็นต้น 5. การเปลี่ยนสถานะของสารจากของเหลวไปเป็นของแข็ง เช่น การทำน้ำแข็ง การทำไอศกรีม เป็นต้น
สถานะของสาร ป.4 pdf

และแก๊ส ตอนที่ 2 กิจกรรม การเปลี่ยนแปลงที่เกิดขึ้น/สิ่งที่สังเกต ลักษณะของเกล็ดด่างทับทิม เป็นของแข็ง ลักษณะผลึกท่อนเล็กๆสีม่วงเข้มเกือบดา และมันวาว เมื่อใส่เกล็ดด่างทับทิมลงใน น้า บริเวณรอบๆเกล็ดด่างทับทิมจะเห็นน้าเป็นสีม่วง แพร่กระจายคล้ายควัน เคลื่อนที่ผสมกับน้าในบีกเกอร์ เมื่อเปิดฝาขวดที่มีสาลีชุบ สารละลายแอมโมเนียอยู่ ภายใน ได้กลิ่นแอมโมเนียฟุ้ งกระจายไปทั่วห้องอย่างรวดเร็วแต่ ไม่สามารถมองเห็อนุภาคใดๆในอากาศ 18. คาถามจากกิจกรรมการทดลอง 1. ในกิจกรรมตอนที่ 1 เม็ดโฟมที่บรรจุอยู่ในขวดพลาสติกเปรียบเสมือน 2. การเป่าลมในขวดอย่างช้าๆ เบาๆ ไปยังเม็ดพลาสติกเป็นแบบจาลองที่แทนการ จัดเรียงอนุภาคของสารในสถานะ และมีลักษณะดังนี้ 3. การเป่าลมในขวดแรงขึ้น ไปยังเม็ดพลาสติกเป็นแบบจาลองที่แทนการจัดเรียง อนุภาคของสารในสถานะ และมีลักษณะดังนี้ แบบจาลองของอนุภาคของสารทั้งสามสถานะ คือ ของแข็ง ของเหลว และแก๊ส ของแข็ง ทุกอนุภาคมีการสั่นสะเทือนตลอดเวลาแต่อยู่ตาแหน่งเดิม และอนุภาคอยู่ชิดติดกันมี แรงระหว่างอนุภาคมากทาให้ของแข็งคงรูปอยู่ได้ ของเหลว ทุกอนุภาคมีการสั่น อนุภาคอยู่ห่างกันเล็กน้อย มีการเคลื่อนตัวและการกระจาย ตัวทั่วก้นภาชนะจึงมีปริมาตรเพิ่มขึ้นทาให้ความหนาแน่นและแรงยึดเหนี่ยว ระหว่างอนุภาคน้อยกว่าของแข็งเมื่อเป่าลมแรงที่สุด 19.

สถานะของสาร - เกมตอบคำถาม

จงจัดหมวดหมู่ของสารต่อไปนี้พร้อมทั้ง บอกเกณฑ์ในการจัดหมวดหมู่ด้วย น้าตาลทราย น้าเชื่อม เกลือแกง น้าส้มสายชู ลูกเหม็น น้ากลั่น น้าแข็ง เหล็ก ทองแดง กระดาษ ปากกา น้าหมึก สีน้า อากาศ แก๊สหุงต้ม 13. ใช้สถานะของสารเป็นเกณฑ์ในการจาแนก น้าตาลทราย น้าเชื่อม เกลือแกง น้าส้มสายชู ลูกเหม็น น้ากลั่น น้าแข็ง เหล็ก ทองแดง กระดาษ ปากกา น้าหมึก สีน้า อากาศ แก๊สหุงต้ม 14. บทปฏิบัติการที่ 1 เรื่อง ของแข็ง ของเหลว และแก๊ส จุดประสงค์การทดลอง 1. เพื่อทดลองตรวจสอบ อธิบายการจัดเรียงระยะห่างระหว่างอนุภาค แรงยึด เหนี่ยวระหว่างอนุภาคและการเคลื่อนไหวของอนุภาคในสถานะของแข็ง ของเหลวและแก๊ส โดยใช้แบบจาลองการจัดเรียงอนุภาคของสาร 2. เพื่ออธิบายสถานะของสารที่แตกต่างกันโดยใช้แบบจาลองการจัดเรียง อนุภาคของสาร 15. ตัวแปรต้น แรงลมในการเป่าเม็ดโฟม ตอนที่ 1 ตัวแปรตาม การเคลื่อนตัวของเม็ดโฟม ตัวแปรควบคุม ขนาดของขวดพลาสติก, จานวนเม็ดโฟม 16. และแก๊ส ตอนที่ 1 ขนาดของขวดพลาสติก, จานวนเม็ดโฟม ลักษณะการเป่าลม การเคลื่อนตัวของเม็ดโฟม เป่าลมอย่างช้า ๆ เบา ๆ เม็ดโฟมสั่น แต่อยู่กับที่และชิดติดกัน เป่าลมแรงขึ้นจนเม็ดโฟมสั่น เคลื่อนที่แยกห่างจากกันไปทั่วก้นภาชนะ ปริมาตรเพิ่มขึ้น เล็กน้อย เป่าลมแรงที่สุด เม็ดโฟมสั่น และฟุ้งกระจายแยกออกจากกันอย่างรวดเร็ว ทั่วขวดพลาสติก 17.

ข้อสอบ วิทยาศาสตร์ ป 4 เรื่อง สถานะ ของ สาร สถานะของสาร ของแข็ง ของเหลว แก๊ส

สถานะของสาร ppt

1. มีการเปลี่ยนแปลงรูปร่างภายนอก เช่น การเปลี่ยน สถานะ การเกิดสารละลาย การเปลี่ยนอุณหภูมิ การสึกกร่อน เป็นต้น 2. ไม่มีการเปลี่ยนแปลงองค์ประกอบภายในเปลี่ยนเฉพาะ รูปร่างภายนอก 3. ไม่มีสารใหม่เกิดขึ้น ภายหลังการเปลี่ยนแปลงสมบัติทาง กายภาพและทางเคมีของสารยังคงเหมือนเดิม 4. สามารถทาให้กลับสู่สภาพเดิมได้ง่าย การเปลี่ยนแปลงสมบัติทางกายภาพ 9. สมบัติที่เกี่ยวข้องกับองค์ประกอบภายในของสาร และการ เกิดปฏิกิริยาเคมี เช่น การเผาไหม้ การเกิดสนิม การผุพัง การ ระเบิด เป็นต้น เช่น เหล็กเป็นของแข็งสีเทา เมื่อทิ้งไว้จะเกิดสนิม มีสีน้าตาลแดง การเกิดสนิมเหล็ก การเผาไหม้ 10. การเปลี่ยนแปลงทางเคมีหรือการเกิดปฏิกิริยาเคมี 1. จะต้องมีสารใหม่เกิดขึ้นเสมอ 2. มีการเปลี่ยนแปลงองค์ประกอบภายใน และมีผลทาให้มี การเปลี่ยนแปลงสมบัติทางกายภาพของสารด้วย 3. ทาให้สารใหม่ที่เกิดขึ้น มีสมบัติแตกต่างไปจากสารเดิม เช่น การเกิดสนิมเหล็ก การเผาไหม้ของเชื้อเพลิง การสังเคราะห์ด้วยแสง เป็นต้น 4. ทาให้กลับสู่สภาพเดิมได้ยาก 11. การเปลี่ยนแปลงต่อไปนี้เป็นการเปลี่ยน แปลงทางกายภาพหรือทางเคมี การระเหยของน้า การต้มน้า ข้าวสารเปลี่ยนเป็นข้าวสุก เกลือละลายน้า ผลไม้ดิบเปลี่ยนเป็นผลไม้สุก การจุดเทียนไข เนื้อดิบเป็นเนื้อสุก กายภาพ เคมี กายภาพ เคมี 12.

สถานะของสาร สารโดยทั่วไปในธรรมชาติ มี 3 สถานะ ดังนี้ 1. ของแข็ง อนุภาคจะอยู่ชิดกัน อนุภาคไม่สามารถเคลื่อนที่ได้ ทำให้แรงยึดเหนี่ยวอนุภาคสูงกว่าในสถานะอื่นของสารชนิดเดียวกัน มีรูปร่างและปริมาตรที่คงที่แน่นอน ไม่ขึ้นกับภาชนะที่บรรจุ ตัวอย่างของสารที่มีสถานะเป็นของแข็ง เช่น เหล็ก อะลูมิเนียม ทองแดง เงิน เป็นต้น 2. ของเหลว อนุภาคอยู่ห่างกันเล็กน้อย ทำให้อนุภาคสามารถเคลื่อนที่ได้ รูปร่างไม่แน่นอน เปลี่ยนตามภาชนะที่บรรจุ แต่ปริมาตรไม่ขึ้นกับภาชนะ ตัวอย่างของสารที่มีสถานะเป็นของเหลว เช่น น้ำ แอลกอฮอล์ โบรมีน เป็นต้น 3. แก๊ส อนุภาคจะอยู่ห่างกัน แรงยึดเหนี่ยวมีค่าน้อย ทำให้เคลื่อนที่ได้มาก มีปริมาตรและรูปร่างตามภาชนะที่บรรจุ ตัวอย่างของสารที่มีสถานะเป็นแก๊ส เช่น แก๊สออกซิเจน แก๊สไฮโดรเจน แก๊สคาร์บอนไดออกไซด์ แก๊สไนโตรเจน เป็นต้น รูปแสดงอนุภาคของสารใน สถานะของแข็ง ของเหลว และแก๊สตามลำดับ การเปลี่ยนสถานะของสาร การเปลี่ยนสถานะของระบบ จะแบ่งออกเป็น 2 ประเภท คือ 1. คายความร้อน เป็นการถ่ายเทพลังงานจากระบบสู่สิ่งแวดล้อม ทำให้สิ่งแวดล้อมมีอุณหภูมิสูงขึ้น 2.
  • เคลื่อน คลาย หมาย ถึง
  • รับซื้ออุปกรณ์ช่างเงิน ทอง มือสอง: พฤษภาคม 2015
  • โปรแกรม cct truss installation
  • เกม the incredible hulk episodes
  • สถานะของสาร ป.4
  • รับเน็ต 10GB ฟรี! จาก กสทช. ลงทะเบียนง่ายๆ ใครได้สิทธิ์บ้างเช็คเลย - Siamphone.com
  • ข้อสอบ วิทยาศาสตร์ ป 4 เรื่อง สถานะ ของ สาร

4. การเป่าลมในขวดแรงที่สุด ไปยังเม็ดพลาสติกเป็นแบบจาลองที่แทนการจัดเรียง 5. จากกิจกรรมที่ 2 เกล็ดด่างทับทิมมีลักษณะ 6. เมื่อใส่เกล็ดด่างทับทิมลงในน้า สิ่งที่สังเกตได้ คือ เปรียบได้กับแบบจาลองอนุภาคของ ซึ่งตรงกับการเป่าลม ในกิจกรรมตอนที่ 1 แก๊ส ทุกอนุภาคมีการเคลื่อนที่อยู่ตลอดเวลาอย่างรวดเร็ว ฟุ้งกระจายเต็มภาชนะ ทาให้ ความหนาแน่นและแรงยึดเหนี่ยวระหว่างอนุภาคน้อยกว่าของเหลวและของแข็งมาก เป็นของแข็ง ลักษณะเป็นผลึกท่อนเล็กๆ สีม่วงเข้มเกือบดาและมันวาว ด่างทับทิมจะละลายและแพร่กระจายผสมกับน้ากลายเป็นสีม่วง ของเหลว แรงขึ้นจนเม็ดโฟมสั่น 20. สรุปผลการทดลอง จากการทดลองพบว่าเกล็ดด่างทับทิมเปรียบเทียบได้กับแบบจาลองอนุภาคของ ของแข็งที่คงรูปอยู่ได้ ด่างทับทิมผสมกับน้าเปรียบเทียบได้กับแบบจาลองอนุภาคของ ของเหลว ตอนที่ 1ที่เป่าลมแรงขึ้น การเปิดฝาขวดที่บรรจุสาลีชุบสารละลาย แอมโมเนีย จะได้กลิ่นแอมโมเนียฟุ้งกระจายไปทั่วห้องอย่างรวดเร็ว และมองไม่เห็น อนุภาคใดๆในอากาศเปรียบเทียบได้กับแบบจาลองอนุภาคของแก๊ส อนุภาคของด่าง ทับทิมแอมโมเนียมีขนาดเล็กมาก ไม่สามารถด้วยตาเปล่า การทาการทดลองตอนที่ 2 สอดคล้องกับการอธิบายสถานะของสารโดยใช้แบบจาลองการจัดเรียงอนุภาคของสาร ในตอนที่ 1 21.

ysl-card-holder-รวว