Fri, 07 Oct 2022 21:32:12 +0000

ชายวัย 72 ถูกนำตัวส่งโรงพยาบาลด้วยอาการปวดแน่นท้องอย่างรุนแรง ตามมาด้วยภาวะความดันตกและช็อกหมดสติ กระเพาะทะลุ ลำไส้อักเสบ ไส้ติ่งแตก จากการซักถามประวัติการรักษาจากญาติพบว่า คนไข้เคยทำบายพาสหัวใจเมื่อ 10 ปีที่แล้ว มีโรคประจำตัวคือ โรคหลอดเลือดหัวใจตีบและโรคถุงลมโป่งพอง ข้อมูลดังกล่าวทำให้การวินิจฉัยเพื่อตรวจรักษาทำได้ง่ายขึ้น ประกอบกับอาการปวดแน่นรุนแรงในช่องท้อง แพทย์จึงพุ่งเป้าไปยังหลอดเลือดแดงใหญ่ในช่องท้อง ซึ่งเป็นหลอดเลือดสายหลักที่เชื่อมตรงกับหัวใจ นพ.

โรคใหม่ "หลอดเลือดแดงใหญ่โป่งพองในท้อง"

  1. กระเป๋าาเดินทางของ LOJEL ดีมั้ย - Pantip
  2. Hobbit พากย์ ไทย
  3. เกียร์ออโต้เข้าเกียร์แล้วรถไม่วิ่งสัญญาณที่บอกว่าเกียร์พัง
  4. Panasonic fz200 ขาย
  5. ราคา canon m50 battery
ทิช ชู่ nice ขายส่ง

หลอดเลือดแดงใหญ่โป่งพอง อาการ หลอดเลือดแดงโป่งพอง

มีภาวะรั่วซึมหรือปริแตกของหลอดเลือดแดงใหญ่ 2. ผู้ป่วยโรคหลอดเลือดแดงใหญ่โป่งพองที่มีอาการเจ็บปวดบริเวณก้อน เช่น ปวดท้อง ปวดหลัง หรือเจ็บแน่นหน้าอก 3. ผู้ป่วยที่ไม่มีอาการแสดง หากหลอดเลือดแดงใหญ่มีขนาดโตกว่า 5 ซม. หรือมีขนาดโตเร็วกว่า 1 ซม. ใน 1 ปี 4. ผู้ป่วยเพศหญิงหรือผู้ป่วยอายุน้อยที่มีหลอดเลือดโป่งพองขนาดเล็กกว่า 5 ซม. แต่มีปัจจัยเสี่ยงในการแตกของก้อน หมายเหตุ ผู้ป่วยที่มีหลอดเลือดโป่งพองแต่ไม่มีข้อบ่งชี้ในการผ่าตัดรักษา ควรได้รับการตรวจซ้ำอย่างต่อเนื่องด้วยการตรวจอัลตราซาวด์ หรือการถ่ายภาพเอกซเรย์คอมพิวเตอร์ทุก 3 - 6 เดือน สอบถามข้อมูลเพิ่มเติมได้ที่ คลิก!! ศูนย์หัวใจ ชั้น 4 โซน C #ศูนย์หัวใจ #โรงพยาบาลศิริราช ปิยมหาราชการุณย์ #หลอดเลือดแดงใหญ่ #โรคหลอดเลือดแดงใหญ่โป่งพอง #โรคหัวใจ #หายใจลำบาก #กลืนลำบาก #เสียงแหบ #แน่นหน้าอก #ปวดหลัง #หน้ามืด #หมดสติ #ไอเป็นเลือด #ปวดท้อง #คลำเจอก้อนในท้อง #Aortic Aneurysm

02-391-0011 ต่อ 145, 155 ติดตามรับข้อมูลข่าวสารอัพเดทจากทางโรงพยาบาล:

เราใช้คุกกี้ (cookie) เพื่อเพิ่มประสบการณ์และความพึงพอใจของท่านในการได้รับการเสนอข้อมูลและเนื้อหาต่างๆ โดยจะทำให้เราเข้าใจลักษณะการใช้งานเว็บไซต์ของท่านได้เร็ว และทำให้เว็บไซต์ของเราเข้าถึงได้ง่าย สะดวกยิ่งขึ้นโดยการเข้าใช้งานเว็บไซต์นี้ถือว่าท่านได้อนุญาตให้เราใช้คุกกี้ตามนโยบายคุกกี้ของเรา นโยบายคุกกี้ของเรา

ภาวะหลอดเลือดแดงช่องท้องโป่งพอง - คณะแพทยศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่

นพ. ทศพล ลิ้มพิจารณ์กิจ ภาควิชาอายุรศาสตร์ สาขาอายุรศาสตร์โรคหัวใจ คณะแพทยศาสตร์โรงพยาบาลรามาธิบดี มหาวิทยาลัยมหิดล ขอขอบคุณ: ภาพประกอบจาก

นพ.

"โรคหลอดเลือดแดงใหญ่โป่งพอง" เป็นโรคที่พบได้ไม่บ่อยนัก ซึ่งในประเทศไทยพบโรคนี้เพียง 5 คน จาก 1, 000, 000 คน และมักพบในผู้ป่วยเพศชายสูงอายุที่สูบบุหรี่ แต่เป็นโรคที่มีความรุนแรงมาก หากวินิจฉัยช้าและรักษาไม่ทัน คนไข้จะเสียชีวิตทันที โรคนี้ส่วนใหญ่จะตรวจพบบริเวณช่องท้องมากถึง 75% และพบในช่องอกอีก 25% ซึ่งโดยปกติแล้ว หลอดเลือดแดงใหญ่ของคนเราจะมีขนาดเส้นผ่าศูนย์กลางประมาณ 3 เซนติเมตร หากตรวจพบว่ามีขนาดโตขึ้นมากกว่าปกติ จะต้องเฝ้าระวังและติดตามอาการอย่างใกล้ชิด และถ้ามากกว่า 5.

สวาน-แทน-tiger