Fri, 07 Oct 2022 21:06:06 +0000

ผ่างฮาด หรือ ฆ้องโหม่ง แบบโบราณชนิดที่ไม่มีปุ่มนูนตรงกลางเหมือนฆ้องทั่วๆ ไป คือแผ่นหน้าของผ่างฮาดจะเรียบเสมอกันหมด นิยมใช้ตีผสมกับเครื่องกำกับจังหวะในขบวนฟ้อนผู้ไท ฟ้อนเซิ้งบั้งไฟ 2. หมากกับแก๊บ หรือ หมากก๊อบแก๊บ หรือ กรับคู่ เป็นกรับพื้นเมืองอีสานทำด้วยไม้ธรรมดาสองชิ้น จักเป็นร่องฟันใช้ครูดหรือกรีดตามจังหวะ นอกจากเครื่องดนตรีเหล่านี้แล้ว ยังมีเครื่องดนตรีประเภทตีทำด้วยโลหะอีกหลายชิ้น เช่น ฉิ่ง ฉาบ ซึ่งภาษาอีสานเรียกว่า สิ่ง แส่ง ผ่างฮาด กลอง แคน โหวด ผ่างฮาด ประเภทเครื่องเป่า 1. แคน เครื่องเป่าที่เรารู้จักกันดีและแพร่หลาย เป็นเครื่องดนตรีที่เป็นสัญลักษณ์ของชาวอีสาน รายละเอียดเกี่ยวกับแคนเพิ่มเติมคลิกที่นี่ เสียงของแคนมีความไพเราะแสดงได้ทั้งอารมณ์สนุกสนาน เศร้าสร้อย การเป่าแคนจะมีท่วงทำนองซึ่งเรียกกันว่า ลายแคน เช่น ลายสุดสะแนน ลายลมพัดไผ่ ลายแม่ฮ้างกล่อมลูก ฯลฯ 2. โหวต เป็นเครื่องเป่าที่ทำด้วยลูกแคนแต่ไม่มีลิ้น โดยนำเอากู่แคนจำนวนประมาณ 7 ถึง 12 อันมาตัดให้ได้ขนาดลดหลั่นกันให้ปลายทั้งสองข้างเปิด ปลายด้านล่างใช้ขี้สูตรปิดให้สนิท ส่วนปลายบนเปิดไว้สำหรับเป็นรูเป่า โดยนำเอากู่แคนมารวมกันเข้ากับแกนไม้ไผ่ที่อยู่ตรงกลาง จัดลุกแคนล้อมรอบในลักษณะทรงกลม ตรงหัวโหวตใช้ขี้สูตรก่อเป็นรูปกรวยแหลม เพื่อใช้เป็นฐานสำหรับจรดฝีปากด้านล่าง และให้โหวตหมุนได้รอบทิศเวลาเป่า 3.

  1. ความเป็นมาของ “เพลงซอล้านนา” - Chiang Mai News
  2. ซอ คืออะไร แปลภาษา แปลว่า หมายถึง (พจนานุกรมคำศัพท์ที่ถูกเพิ่มโดยสมาชิก)
  3. History_Southeast Asia: ซอ เพลงพื้นบ้านภาคเหนือ

ความเป็นมาของ “เพลงซอล้านนา” - Chiang Mai News

History_Southeast Asia: ซอ เพลงพื้นบ้านภาคเหนือ

  1. Triumph 300cc ราคา
  2. ซอพื้นเมืองล้านนา - วิกิพีเดีย
  3. ซอพื้นบ้านล้านนา คุณค่าแห่งดนตรีที่ถูกเมิน
  4. สายไฟ vct 2x4 ราคา
  5. ศิลปะการแสดง - ซอล้านนา
  6. เครื่องดนตรีพื้นบ้านภาคอีสาน
  7. แคลเซียม ยี่ห้อไหนดี - อาหารเสริมคุณภาพสูง ช่วยบำรุงสมอง คุณประโยชน์ที่คุ้มค่าในกระปุกเดียว
  8. Test e ราคา
  9. ความเป็นมาของ “เพลงซอล้านนา” - Chiang Mai News

หุนหรือหืน เป็นเครื่องดีดที่ทำด้วยไม้ไผ่ ซึ่งชาวภาคกลางเรียกว่า จ้องหน่อง เวลาดีดต้องใช้ปากคาบไว้ที่กระพุ้งแก้ม ซึ่งจะทำหน้าที่เป็นเครื่องขยายเสียง หุนจะมีเสียงค่อนข้างเบา ดังนั้นจะดีดให้เป็นทำนองชัดเจนได้ยาก 3. โกย คือ หุนหรือจ้องหน่องที่ทำด้วยโลหะ นิยมเล่นกันในหมู่ผู้หญิงผู้ไทสมัยโบราณ 4. ไหซองหรือพิณไห เป็นพิณที่ทำมาจากไหน้ำปลาหรือไหใส่ปลาร้า นิยมทำเป็นชุดๆ ละหลายใบโดยมีขนาดลดหลั่นกัน ตรงปากไหใช้เส้นยางหนังสติกหรือเส้นยางที่ตัดมาจากยางในของรถจักรยานผูกและขึงผ่านให้ได้เสียงประสานกัน โดยทำหน้าที่ให้เสียงทุ้มคล้ายกีตาร์เบสของฝรั่ง พิณ ซึง ซุง พิณ_ไหซอง พิณ ซึง ซุง ไหซอง หรือ พิณไห ประเภทเครื่องสี หมายถึง เครื่องดนตรีที่มีสายสีด้วยคันชัก หรือเครื่องสายตามการเรียกในภาคกลาง 1. ซอพื้นเมือง แตกต่างจากซออื่นๆ เพราะซอพื้นเมืองของภาคอีสานแทนที่จะทำด้วยไม้กับกะลามะพร้าวแต่กลับทำด้วยไม้กับปี๊บหรือกระป๋อง ในบางครั้งก็เรียกว่า ซอปี๊บ หรือ ซอกระป๋อง ซอชนิดนี้มีอยู่ 2 สาย คันชักที่ใช้สีนั้นทำเช่นเดียวกับซอสามสาย คันชักของซอปี๊บจะอยู่ข้างนอก วิธีการสีเช่นเดียวกับซอสามสายหรือไวโอลิน การเล่นเพลงเช่นเดียวกับพิณ 2.

ซอ คืออะไร แปลภาษา แปลว่า หมายถึง (พจนานุกรมคำศัพท์ที่ถูกเพิ่มโดยสมาชิก)

อังกุ๊ยจ์ ชาวไทยภาคกลางเรียกว่า จ้องหน่อง ลักษณะเดียวกันกับ หุน หรือ หืน ทำด้วยไม้ไผ่ ประเภทเครื่องสี เครื่องดนตรีที่ใช้สีด้วยคันชักหรือคันสีที่รู้จักกันดี ได้แก่ ซอกันตรึม หรือ ตรัว ลักษณะของวอกันตรึมนี้ส่วนใหญ่จะคล้ายคลึงกับซอด้วงและซออู้ที่ใช้ในวงดนตรีไทยในปัจจุบัน ในอีสานใต้นี้พบว่ามีใช้กันอยู่ 4 ขนาด 4. ซอเล็ก หรือ ตรัวจ์ ซึ่งมีรูปร่างคล้ายซอด้วง แต่มีเสียงสูงและแหบกว่า 5. ซอกลาง หรือ ตรัวซอ มีขนาดใหญ่กว่าซอเล็ก 6. ซอใหญ่ หรือ ตรัวซอ มีขนาดใหญ่ที่สุด 7. ซออู้ หรือ ตรัวอู มีลักษณะคล้ายซออู้ตามปกติ ซอทั้ง 4 ขนาดมีรูปร่างไม่แตกต่างกันมากนัก ต่างกันเฉพาะขนาดและวัสดุที่ใช้ทำกระโหลกซอเท่านั้น ซอเล็กนั้นบางครั้งพบว่าใช้เขาควายมาทำเป็นกระโหลก แต่ซอกลางและซอใหญ่นั้นนิยมใช้ไม้ขนุนหรือไม้เนื้อแข็ง ส่วนซออู้นั้นกระโหลกซอจะใช้กะลามะพร้าวขนาดใหญ่ และใช้หนังงูเหลือม หรือหนังตะกวดปิดหน้ากระโหลกซอ วงกันตรึมในปัจจุบันนิยมใช้ซอกลางและซออู้บรรเลงในงานทั่วๆ ไป ประเภทเครื่องตี ได้แก่ 1. กลองกันตรึม หรือ สะกัว มีลักษณะเป็นกลองขนาดเล็ก รูปร่างคล้ายโทนดินเผา ตัวกลองขุดจากไม้ขนุน หรือลำต้นมะพร้าวโดยกลึงภายนอกให้ได้รูปร่างเสียก่อน จึงเจาะคว้านภายในให้เป็นโพรงกลวง ใช้หนังวัวหรือหนังงูเหลือมหุ้มปากกลอง 2.

ซอไม้ไผ่ หรือ ซอบั้ง ทำด้วยไม้ไผ่หนึ่งปล้องมีเส้นผ่าศูนย์กลางประมาณสองถึงสามนิ้ว ถากผิวออกจนเหลือกระบอกบางๆ เจาะรูให้เกิดโพรงเสียง ขึ้นสายสองสายไปตามยาวของปล้องไม้ไผ่ แล้วสีด้วยคันชัก ซอไม้ไผ่มีข้อเสียที่เสียงเบาเกินไป ประเภทเครื่องตี หมายถึง เครื่องดนตรีประเภทตีดำเนินทำนอง ได้แก่ ซอปี๊บ ซอกระบอก ซอกระบอก โปงลาง ซอกระป๋อง ซอปิ๊บ ซอกระบอก โปงลาง 1.

ซอพื้นเมืองล้านนา. สานิเทศทางอากาศ:รวมบทความ 2536. มหาวิทยาลัยเชียงใหม่, 2537

History_Southeast Asia: ซอ เพลงพื้นบ้านภาคเหนือ

ซอ ภาคเหนือ

ศ.

  1. โปรแกรม milestone ราคา
  2. จัดงานสัมมนา
  3. ชาม charm kitchen garden
  4. Nikon d3100 body ราคา laser
  5. กาพย์ ยานี 11 ธรรมชาติ 2 บท มี
  6. กางเกง ค รอ ป
  7. The fast and the furious ภาค 1
  8. ลำโพง คอม lazada
  9. แยกราชประสงค์ แผนที่
  10. สั่ง gucci ออนไลน์
  11. ความ สูง เบาะ cbr650r 2021
  12. ลาย ดอก เบญจมาศ
  13. ตัดผม ทอม เท่ ๆ คอร์ด
  14. โซดาไฟ กี่ บาท
ขอมล-วด-บางนำผง-ใน